Home » การประกันภัย » หลักการ ประกันภัย
หลักการ ประกันภัย
2019/02/11 1675👁️🗨️
การประกันภัยเป็นการทำธุรกิจที่มีสัญญาประกันภัย (กรรมธรรม์ประกันภัย(insurance policy)) ที่กฎหมายยอมรับและรับบังคับคดีให้โดยกำหนดข้อความต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการประกันภัย การทำสัญญาผูกพันให้มีผลทางกฎหมายก็ต้องปฏิบัติตามหลักการที่กฎหมายบัญญัติไว้
หลักทั่วไปของกฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัยมีดังนี้
- หลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัย (Principle of Insurable Interest)
- หลักความสุจริตต่อกันอย่างยิ่ง (Utmost Good Faith)
- หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเป็นจริง (Principle of Indemnity)
- หลักการรับช่วงสิทธิ (Principle of Subrogation)
- หลักการเฉลี่ย (Principle of Contribution)
- หลักสาเหตุใกล้ชิด (Principle of Proximate Cause)
สอบถาม บริษัทประกันภัย เจ้าของผลิตภัณฑ์ หรือ ตัวแทน/นายหน้า ทั่วประเทศ
Written by:
insurancethai.net
เว็บไซต์ อินชัวรันส์ไทยดอทเน็ต เผยแพร่ข้อมูลด้านประกันภัย เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะชน "เลือกสินค้าประกันที่ดี เลือกตัวแทน/นายหน้า ที่ดี มีความรู้ ช่วยเหลือเราได้ เลือกบริษัทประกันภัยที่มีธรรมภิบาล"
- ค่าลดหย่อนประกันชีวิต/ประกันชีวิตแบบบำนาญ/ประกันสุขภาพ
- ประกันความรับผิดผลิตภัณฑ์ หรือ ประกันความรับผิดสินค้า ใช้เกณฑ์ใดในการคำนวณเบี้ยประกัน?
- เบี้ยประกันชีวิตขึ้นอยู่กับอายุและเพศ
- การซื้อประกันภัย
- สไตล์ ของบริษัทประกัน สำคัญอย่างไร
- ยกเลิกกรมธรรม์ประกันชีวิตที่ซื้อผ่านทางโทรศัพท์
- กรณีที่เคลมประกันรถยนต์ได้ (ประกันชั้น1)
- สอบถามข้อมูลการทำประกันของตัวเอง
- กู้เงินจากกรมธรรม์ ต้องทำอย่างไร
- อันดับบริษัท, ประกันภัยรถยนต์ ปี 2562 (2019)
- การแบ่งกลุ่มรถในการทำประกันภัย
- Non-med : การทำประกันชีวิตโดยไม่ตรวจสุขภาพ (non-medical insurance)
- จ่ายเงินค่าเสียหายเองเพื่อไม่ให้เบี้ยประกันรถยนต์เพิ่มในปีหน้า!!
- ผลประโยชน์กับความถูกต้อง วงการประกันภัย
- คปภ. เพิ่มความคุ้มครอง พรบ. จาก 300,000 เป็น 500,000 บริษัทประกันจะทำอย่างไร
- ตรวจสอบว่ารถมีประกันไหม? ทำประกันไว้ที่ไหน?
- เคลมฝ่ายถูก ไม่ง่ายเสมอไป
- วงเงินค่าซ่อมประกันรถ ฝ่ายถูกใช้ของใคร
- วัฏจักรกรมธรรม์ประกันชีวิต
- ผู้เอาประกัน ตัวกลาง บริษัทประกัน
ล่าสุด
สินมั่นคงฯ ทรัพย์สินเหลือ 5,000 ล้าน กปว.เร่งขาย “ตึก-รถยนต์” จ่ายหนี้
คปภ.ยกระดับมาตรฐานการประกันสุขภาพ
กองทุนประกันวินาศภัยมีหนี้เฉียด 100,000 ล้านบาท ลูกหนี้กว่า 1,300,000 ล้านราย
แบงก์แห่ออกประกันบำนาญ จ่ายเบี้ยสั้น รับเงินสูงสุด 25%
สถานะของ คปภ. หน่วยงานที่ดูแลประกันภัย (ประกันชีวิต+วินาศภัย) เป็นหน่วยงานรัฐหรือ รัฐวิสาหกิจ?
แอลเอ็มจีประกันภัย แอกซ่าประกันภัย ace ประกันชีวิต ประวัติบริษัทประกันวินาศภัย อยุธยาอลิอันซ์ซี.พี.ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ เทเวศประกันภัย สินมั่นคงประกันภัย สมโพธิ์เจแปนประกันภัย(ประเทศไทย) ก้าวทันประกันภัย ธนชาตประกันชีวิต ประกันอุบัติเหตุ ธนชาตประกันภัย พรบ ประกันภัยทางทะเลและขนส่ง เมืองไทยประกันภัย ประกันอัคคีภัย การประกันภัย(ประกันวินาศภัย) เอซไลฟ์แอสชัวรันซ์ ประกันภัยเบ็ดเตล็ด กรุงเทพประกันชีวิต การประกันชีวิต rider อาคเนย์ประกันชีวิต ประกันรถยนต์ การเงิน การลงทุน ธุรกิจ ไทยสมุทรประกันชีวิต โตเกียวมารีนประกันชีวิต พรูเด็นเชียลทีเอสไลฟ์ประกันชีวิต ไทยประกันชีวิต เมืองไทยประกันชีวิต ประกันชีวิตตลอดชีพ ความรู้รถยนต์ เจ้าพระยาประกันภัย มิตรแท้ประกันภัย สยามซัมซุงประกันชีวิต ประกันภัยไทยวิวัฒน์ การประกันรถยนต์ กรุงเทพประกันภัย ประกันสุขภาพ(สินค้า) ไอเอ็นจีประกันชีวิต generali ประกันภัยผู้เล่นกอล์ฟ pa